Thursday, 5 January 2017

เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของผู้แทนทางการพัฒนา?Easy more for international cooperation and missions?


เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของผู้แทนทางการพัฒนา?Easy more for international cooperation and missions?

International right..?

privilege and immunity right?

More trust for missions?

And how about intellectual protect right?it can protect under mutual benefit of right of development and trade deal?

แยกแยะยากระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัว ส่วนรวม และของชาติ ในการร่วมโครงการนานาชาติใช่หรือไม่ เสียมากกว่าได้  ?

https://everythingshaquana.com/2015/02/17/the-difference-between-checking-your-privilege-apologizing-for-your-privilege/
http://slideplayer.com/slide/7429492/
http://legal.un.org/avl/ha/vcdr/vcdr.html

The Research Library contains links to scholarly writings and other international law-related resources of interest to the researcher and practitioner alike. The library is divided into five sections: resources relating to treaties and treaty status information; materials concerning the jurisprudence of international and national courts, tribunals and other dispute settlement mechanisms; United Nations and other official documents; publications consisting of scholarly writings, including books and journal articles, as well as research guides; and training materials, which have been prepared by the Codification
Division.

  • Featured Collections
  • BEPRESSThe Law Review Commons is an initiative administered by Berkeley Electronic Press (BEPRESS) providing open access to a growing collection of law reviews and legal journals. It contains both current issues and archival content dating from 1904 for nearly 150 law reviews.
  • The United Nations has established an arrangement with HeinOnline to make available to the users of the United Nations Audiovisual Library of International Law a collection of scholarly writings to promote a better understanding of international law around the world, particularly in developing countries, which may have limited access to international law libraries.
    Access Scholarly Writings Collection







http://legal.un.org/avl/rl_introduction.html
http://opil.ouplaw.com/home/EPIL

การจัดทำความตกลงว่าด้วยเอกสิทธิ์และความคุ้มกันของอาเซียน

·       ไทยได้ลงนามในกฎบัตรอาเซียนเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2550 ซึ่งกฎบัตรอาเซียนได้กำหนดให้รัฐสมาชิกให้ความคุ้มกันและเอกสิทธิ์ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติหน้าที่แก่อาเซียน เลขาธิการอาเซียน พนักงานของสำนักเลขาธิการอาเซียน ผู้แทนถาวรประจำอาเซียนของรัฐสมาชิก เจ้าหน้าที่ของรัฐสมาชิก และเจ้าหน้าที่ที่อยู่ระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ของอาเซียน โดยอาเซียนจะต้องจัดทำความตกลงว่าด้วยเอกสิทธิ์และความคุ้มกันของอาเซียนในรูปแบบของความตกลงแยกต่างหาก เพื่อกำหนดรายละเอียดของการให้ความคุ้มกันและเอกสิทธิ์ดังกล่าว
·       กระทรวงการต่างประเทศได้เสนอให้รัฐสภาพิจารณากรอบการเจรจาประเด็นด้านกฎหมายภายใต้กฎบัตรอาเซียน ซึ่งรวมถึงการจัดทำร่างความตกลงว่าด้วยเอกสิทธิ์และความคุ้มกันของอาเซียน และเมื่อวันที่ 17 ก.พ. 2552  รัฐสภาได้ให้ความเห็นชอบกรอบการเจรจาดังกล่าว จากนั้น กระทรวงการต่างประเทศจึงได้ร่วมเจรจาจัดทำร่างความตกลงว่าด้วยเอกสิทธิ์และความคุ้มกันของอาเซียนกับประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นจนแล้วเสร็จ
·       คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 6 ต.ค. 2552 เห็นชอบร่างความตกลงว่าด้วยเอกสิทธิ์และความคุ้มกันของอาเซียน และให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศลงนามในความตกลง ร่วมกับประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ ในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 15 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 ต.ค. 2552 โดยความตกลงดังกล่าว พร้อมคำแปลภาษาไทยอย่างไม่เป็นทางการ ดังปรากฏข้างล่าง
·       ปัจจุบัน กระทรวงการต่างประเทศกำลังอยู่ในระหว่างดำเนินการเกี่ยวกับการออก พรบ. เพื่ออนุวัติการความตกลงฯ ก่อนให้สัตยาบันความตกลงดังกล่าว 

ไฟล์แนบ


พระราชบัญญัติว่าด้วยเอกสิทธิและความคุ้มกันทางทูต พ.ศ. 2527
http://law.longdo.com/law/544/
http://www.mfa.go.th/asean/th/other/2397/41923-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AD.html

No comments: